ชื่อผู้หญิงเกิดวันศุกร์ที่ไม่มีตัวอักษรกาลกิณี
ชื่อผู้หญิงเกิดวันศุกร์ ที่ไม่มีตัวอักษรกาลกิณี คือ ย , ร , ล , ว . มีดังนี้ อาทิเช่น
กนิษฐ์กานต์ ( Kaniskan ) แปลว่า น้องผู้เป็นที่รัก
กนิฏฐ์กานต์ ( Kanitkan ) แปลว่า น้องผู้เป็นที่รัก
กนิฎฐ์กานต์ ( Kanidkan ) แปลว่า น้องผู้เป็นที่รัก
กนิษฐา ( Kanista ) แปลว่า น้อง
กนิฏฐา ( Kanitta ) แปลว่า น้อง
กนิฎฐา ( Kanidta ) แปลว่า น้อง
กนกกานต์ ( Kanokkan ) แปลว่า ทองคำอันเป็นที่รัก
กาญจนา ( Kanjana ) แปลว่า ทองคำ , ทอง
กาญจน์ ( Kan ) แปลว่า ทองคำ , ทาอง
กัญญากานต์ ( Kanyakan ) แปลว่า นางผู้เป็นที่รัก
กัญญากาญจน์ ( Kanyakan ) แปลว่า นางงามดั่งทอง
กานดา ( Kanda ) แปลว่า ผู้เป็นที่รัก
กานตา ( Kanta ) แปลว่า ผู้เป็นที่รัก
กิตติมา ( Kittima ) แปลว่า ผู้มีชื่อเสียง
กิตติญา ( Kittiya ) แปลว่า ผู้มีชื่อเสียง
กุสุมา ( Kusuma ) แปลว่า ดอกคำ
เกศินี ( Kessinee ) แปลว่า นางผู้มีผมงาม
เกศขจี ( Keskhajee ) แปลว่า ผมนุ่ม , ผมงาม
กัตติกา ( Kattika ) แปลว่า ดาวลูกไก่
ขนิษฐ์กานต์ ( Khaniskan ) แปลว่า น้องผู้เป็นที่รัก
ขนิฏฐ์กานต์ ( Khanitkan ) แปลว่า น้องผู้เป็นที่รัก
ขนิฎฐ์กานต์ ( Khanidkan ) แปลว่า น้องผู้เป็นที่รัก
ขนิษฐา ( Khanista ) แปลว่า น้อง
ขนิฏฐา ( Khanitta ) แปลว่า น้อง
ขนิฎฐา ( Khanidta ) แปลว่า น้อง
ขจี ( Khajee ) แปลว่า งาม , นุ่ม , เขียวสด
เขมนิจ ( Khemmanij , Khemmanit ) แปลว่า ผู้สบายใจเสมอ , ผู้พ้นภัยเสมอ
คณิตา ( Kanita , Kanitta ) แปลว่า การนับ
คนึงนิจ ( Kanungnij , Kanungnit ) แปลว่า คิดถึงเสมอ
จุฑากานต์ ( Jutakan ) แปลว่า ผู้เป็นที่รักที่สุด
จุฑาณัฐ ( Jutanat ) แปลว่า ยอดแห่งนักปราชญ์
จุฑาณัฏฐ์ ( Jutanat ) แปลว่า ยอดแห่งนักปราชญ์
จุฑามาศ ( Jutamas ) แปลว่า ปิ่นทอง
จุฑามาส ( Jutamas ) แปลว่า มงกุฎพระจันทร์
จุฑากาญจน์ ( Jutakan ) แปลว่า ปิ่นทอง
จันทนา ( Jantana ) แปลว่า ไม้พุ่มดอกหอม
จันทนี ( Jantanee ) แปลว่า พระศิวะ
จินดา ( Jinda ) แปลว่า ความคิด , แก้วมีค่า
จินดามณี ( Jindamanee ) แปลว่า แก้วมีค่า , เพชรพลอย
ชมพูนุท ( Chompoonut ) แปลว่า ทองคำเนื้อบริสุทะิ์
ชไมกานต์ ( Chamaikan ) แปลว่า ผู้เป็นที่รักทั้งคู่
ชไมกาญจน์ ( Chamaikan ) แปลว่า ทองทั้งคู่
ชนิกาพันธุ์ ( Chanikapan ) แปลว่า ผู้เป็นเชื้อสายแม่
ชนิดาพันธุ์ ( Chanidapan ) แปลว่า ผู้เป็นเชื้อสายพ่อ
ชฎากานต์ ( Chadakan ) แปลว่า มงกุฎอันเป็นที่รัก
ชฎากาญจน์ ( Chadakan ) แปลว่า มงกุฎทองคำ
ชฎาณัฐ ( Chadanat ) แปลว่า มงกุฎนักปราชญ์
ชฎาณัฏฐ์ ( Chadanat ) แปลว่า มงกุฎนักปราชญ์
ชุติกานต์ ( Chutikan ) แปลว่า ผู้เป็นที่รักรุ่งเรือง
ชุติกาญจน์ ( Chutikan ) แปลว่า ผู้รุ่งเรืองดั่งทองคำ
ชุติมา ( Chutima ) แปลว่า ผู้รุ่งเรือง
ชุติญา ( Chutiya ) แปลว่า ผู้รุ่งเรือง
ชุติญาดา ( Chutiyada ) แปลว่า นักปราชญ์รุ่งเรือง
ชุติญาตา ( Chutiyata ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้รุ่งเรือง
ชุติญาณี ( Chutiyanee ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้รุ่งเรือง
ชุติณัฐ ( Chutinat ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้รุ่งเรือง
ชุติณัฏฐ์ ( Chutinat ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้รุ่งเรือง
ญาดา ( Yada ) แปลว่า ผู้รู้ , นักปราชญ์
ญาดากานต์ ( Yadakan ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้เป็นที่รัก
ญาดาพันธุ์ ( Yadapan ) แปลว่า เชื้อสายนักปราชญ์
ญาตา ( Yata ) แปลว่า ผู้รู้ , นักปราชญ์
ญาตาพันธุ์ ( Yatapan ) แปลว่า เชื้อสายนักปราชญ์
ญาตากานต์ ( Yatakan ) แปลว่า นักปราชญ์อันเป็นที่รัก
ญาตากาญจน์ ( Yatakan ) แปลว่า ทองแห่งนักปราชญ์
ญาณี ( Yanee ) แปลว่า ผู้รู้ , นักปราชญ์
ญาณีพันธุ์ ( Yaneepan ) แปลว่า เชื้อสายนักปราชญ์
ญาณีกานต์ ( Yaneekan ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้เป็นที่รัก
ญาณีกาญจน์ ( Yaneekan ) แปลว่า ทองแห่งนักปราชญ์
ฐิติกานต์ ( Thitikan ) แปลว่า ผู้เป็นที่รักดำรงอยู่
ฐิติกาญจน์ ( Thitikan ) แปลว่า ทองดำรงอยู่
ฐิติพันธุ์ ( Thitipan ) แปลว่า เชื้อสายดำรงอยู่
ฐิติณัฐ ( Thitinat ) แปลว่า นักปราชญ์ดำรงอยู่
ฐิติณัฏฐ์ ( Thitinat ) แปลว่า นักปราชญ์ดำรงอยู่
ณัฐ ( Nat ) แปลว่า ผู้รู้ , นักปราชญ์
ณัฐทิชา ( Natticha ) แปลว่า ผู้เป็นนักปราชญ์
ณัฐธิดา ( Nattida ) แปลว่า ลูกหญิงนักปราชญ์
ณัฐนันท์ ( Nattanan ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้มีความยินดี
ณัฐนาถ ( Nattanath ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้เป็นที่พึ่ง
ณัฐนาฏ ( Nattanat ) แปลว่า นางผู้เป็นนักปราชญ์
ณัฐนุช ( Nattanuch ) แปลว่า น้องผู้เป็นนักปราชญ์
ณัฐผกา ( Natphaka ) แปลว่า นักปราชญ์แห่งดอกไม้
ณัฐพิสุทธิ์ ( Natpisut ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้หมดจด
ณัฐมณี ( Natmanee ) แปลว่า เพชรแห่งนักปราชญ์
ณัฐศินี ( Natsinee ) แปลว่า นางผู้เป็นนักปราชญ์
ณัฐสินี ( Natsinee ) แปลว่า นางผู้เป็นนักปราชญ์
ณัฐอาภา ( Natarpa ) แปลว่า แสงสว่างแห่งนักปราชญ์
ณัฏฐ์ ( Nat ) แปลว่า ผู้รู้ , นักปราชญ์
ณัฏฐา ( Natta ) แปลว่า ผู้รู้ , นักปราชญ์
ณัฏฐามณี ( Nattamanee ) แปลว่า เพชรแห่งนักปราชญ์
ณัฏฐามาศ ( Nattamas ) แปลว่า ทองแห่งนักปราชญ์
ณัฏฐามาส ( Nattamas ) แปลว่า นักปราชญ์แห่งดวงจันทร์
ณัฏฐาศินี ( Nattasinee ) แปลว่า นางผู้เป็นนักปราชญ์
ณัฏฐาสินี ( Nattasinee ) แปลว่า นางผู้เป็นนักปราชญ์
ดนุกนิษฐ์ ( Danukanis ) แปลว่า น้องฉัน , ฉันน้อง
ดนุกนิฏฐ์ ( Danukanit ) แปลว่า น้องฉัน , ฉันน้อง
ดนุกนิฎฐ์ ( Danukanid ) แปลว่า น้องฉัน , ฉันน้อง
ดนุกัญญา ( Danukanya ) แปลว่า ฉันผู้หญืง , ฉันนางงาม
ดนุกานต์ ( Danukan ) แปลว่า ฉันผู้เป็นที่รัก
ดนุขนิษฐ์ ( Danukhanis ) แปลว่า น้องฉัน , ฉันน้อง
ดนุขนิฏฐ์ ( Danukhanit ) แปลว่า น้องฉัน , ฉันน้อง
ดนุขนิฎฐ์ ( Danukhanid ) แปลว่า น้องฉัน , ฉันน้อง
ดนุขจี ( Danukhajee ) แปลว่า ฉันงาม
ดนุแข ( Danukhae ) แปลว่า ฉันจันทรา
ดนุนุช ( Danunuch ) แปลว่า น้องฉัน , ฉันน้อง
ดนุนาถ ( Danunath ) แปลว่า ฉันผู้เป็นที่พึ่ง
ดนุนาฏ ( Danunat ) แปลว่า ฉันผู้หญิง
ดนุชามา ( Danuchama ) แปลว่า ฉันลูกผู้หญิง , ลูกหญิงฉัน
ดนุธิดา ( Danutida ) แปลว่า ฉันลูกหญิง , ลูกหญิงฉัน
ดนุทิชา ( Danuticha ) แปลว่า ฉันคนผู้เกิดสองหน
ดนุณัฐ ( Danunat ) แปลว่า ฉันนักปราชญ์
ดนุณัฏฐ์ ( Danunat ) แปลว่า ฉันนักปราชญ์
ดนุอาภา ( Danuarpa ) แปลว่า ฉันผู้มีแสงสว่าง
ดนุชา ( Danucha ) แปลว่า ลูกหญิง
ดนุชากานต์ ( Danuchakan ) แปลว่า ลูกหญิงผู้เป็นที่รัก
ดนุชาณัฐ ( Danuchanat ) แปลว่า ลูกหญิงนักปราชญ์
ดนุชาณัฏฐ์ ( Danuchanat ) แปลว่า ลูกหญิงนักปราชญ์
ดุจดนุ ( Dujdanu ) แปลว่า เหมือนฉัน , คล้ายฉัน
ดุจธิดา ( Dujtida ) แปลว่า เหมือนลูกหญิง , คล้ายลูกหญิง
ดุจทิชา ( Dujticha ) แปลว่า เหมือนผู้เกิดสองหน
ดุจผกา ( Dujphaka ) แปลว่า เหมือนดอกไม้
ทิชากานต์ ( Tichakan ) แปลว่า ผู้เป็นที่รัก
ทิชากนิษฐ์ ( Tichakanis ) แปลว่า น้องผู้เกิดสองหน
ทิชาขนิษฐ์ ( Tichakhanis ) แปลว่า น้องผู้เกิดสองหน
ทิชานุช ( Tichanuch ) แปลว่า น้องผู้เกิดสองหน
ทิชานาฏ ( Tichanat ) แปลว่า นางผู้เกิดสองหน
ทิชาณัฐ ( Tichanat ) แปลว่า ผู้เป็นนักปราชญ์
ทิชาณัฏฐ์ ( Tichanat ) แปลว่า ผู้เป็นนักปราชญ์
ธนธิดา ( Tanatida ) แปลว่า ลูกหญิงผู้มีทรัพย์สิน
ธัญญานุช ( Tanyanuch ) แปลว่า น้องรุ่งเรือง
ธัญญาณัฐ ( Tanyanat ) แปลว่า นักปราชญ์รุ่งเรือง
ธัญญาณัฏฐ์ ( Tanyanat ) แปลว่า นักปราชญ์รุ่งเรือง
ธัญญาสินี ( Tanyasinee ) แปลว่า นางผู้รุ่งเรือง
นันทณัฐ ( Nantanat ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้มีความยินดี
นันทณัฏฐ์ ( Nantanat ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้มีความยินดี
นันท์ธิดา ( Nantida ) แปลว่า ลูกหญิงผู้มีความยินดี
นันท์ทิชา ( Nanticha ) แปลว่า ผู้มีความยินดี
นันท์นภา ( Nannapa ) แปลว่า ฟ้ามีความยินดี
นัดดากานต์ ( Naddakan ) แปลว่า ลูกของลูก คือ หลานผู้เป็นที่รัก
นาฏกานต์ ( Nattakan ) แปลว่า นางผู้เป็นที่รัก
นุชกานต์ ( Nutchakan ) แปลว่า น้องผู้เป็นที่รัก
นิศา ( Nisa ) แปลว่า กลางคืน , ยามราตรี
นิศากานต์ ( Nisakan ) แปลว่า ราตรีอันเป็นที่รัก , ผู้เป็นที่รักแห่งราตรี
เบญจมาศ ( Benjamas ) แปลว่า ดอกไม้ชนิดหนึ่ง
ปัทมา ( Pattama ) แปลว่า บัวหลวง
ปนัดดา ( Panadda ) แปลว่า เหลน
ปทุม ( Patum ) แปลว่า บัวหลวง
ผกา ( Phaka ) แปลว่า ดอกไม้
ผกากานต์ ( Phakakan ) แปลว่า ดอกไม้อันเป็นที่รัก
ผกากาญจน์ ( Phakakan ) แปลว่า ดอกไม้ทองคำ
ผกามาศ ( Phakamas ) แปลว่า ดอกไม้ทองคำ
ผกามณี ( Phakamanee ) แปลว่า ดอกไม้เพชรพลอย
ผาณิตา ( Phanita , Phanitta ) แปลว่า น้ำตาล , น้ำอ้อย
พิมพ์ผกา ( Pimphaka ) แปลว่า รูปดอกไม้
เพ็ญแข ( Penkhae ) แปลว่า จันทร์เต็มดวง
เพ็ญธิดา ( Pentida ) แปลว่า ผู้เต็มไปด้วยลูกหญิง
เพ็ญนภา ( Pennapa ) แปลว่า ท้องฟ้า
เพ็ญพิศ ( Penpis ) แปลว่า งาม
เพ็ญพิชญา ( Penpitchaya ) แปลว่า เต็มไปด้วยนักปราชญ์
เพ็ญพิสุทธิ์ ( Penpisut ) แปลว่า ผู้เต็มไปด้วยบริสุทธิ์
เพ็ญผกา ( Penphaka ) แปลว่า เต็มไปด้วยดอกไม้
เพ็ญมณี ( Penmanee ) แปลว่า เต็มไปด้วยเพชรพลอย
พิศพิสุทธิ์ ( Pispisut ) แปลว่า งามหมดจด
อาภากนิฏฐ์ ( Arpakanit ) แปลว่า น้องมีแสงสว่าง
อาภาแข ( Arpakhae ) แปลว่า แสงจันทร์
อาภานุช ( Arpanuch ) แปลว่า น้องมีแสงสว่าง
อาภาณัฐ ( Arpanat ) แปลว่า แสงแห่งนักปราชญ์
อาภาณัฏฐ์ ( Arpanat ) แปลว่า แสงแห่งนักปราชญ
อาภาพิชญ์ ( Arpapich ) แปลว่า แสงแห่งนักปราชญ์
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น