ชื่อที่เกี่ยวกับ สงกรานต์
ชื่อที่เกี่ยวกับวันสงกรานต์ วันสงกรานต์ในอดีต ถือว่า
เป็นวันปีใหม่ ( ปีนักษัตร อ่านว่า นักสัด ) คือจะเปลี่ยนจาก
ปีนักษัตรเดิม เป็นปีนักษัตรใหม่ในวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5
แต่ในปัจจุบันมักจะเปลี่ยนปีนักษัตรไปพร้อมกับวันขึ้นปีใหม่ในโลก
สากล คือวันที่ 1 มกราคม
ชื่อที่เกี่ยวกับวันสงกรานต์ ก็มีทั้งชื่อผู้หญิง และ ชื่อผู้ชาย ดังนี้
ชื่อผู้หญิง อาทิเช่น
จุฑากรานต์ ( Jutakran ) แปลว่า ก้าวไปถึงที่สุด , ก้าวไปถึงยอด
ศศิกรานต์ ( Sasikran ) แปลว่า ก้าวไปดวงจันทร์
รวีกรานต์ ( Raweekran ) แปลว่า ก้าวไปตามดวงตะวัน
ทิวากรานต์ ( Tiwakran ) แปลว่า วันที่ก้าวไป
ทิพย์วารี ( Tipwaree , Thipwaree ) แปลว่า น้ำทิพย์
น้ำทิพย์ ( Namtip , Namthip ) แปลว่า น้ำเป็นของเทวดา
ธิดาวารี ( Tidawaree ) แปลว่า ลูกหญิงน้ำ
สายวารี ( Siewaree ) แปลว่า สายน้ำ
สายน้ำ ( Sienam ) แปลว่า น้ำ
สายธาร ( Sietan ) แปลว่า สายน้ำ , ลำธาร
น้ำ ( Nam , Narm ) แปลว่า ของเหลวใสๆใช้ดื่มได้ และใช้อุปโภคได้
ลดาวารี ( Ladawaree ) แปลว่า เครือเถาน้ำ
รัตติกรานต์ ( Rattikran ) แปลว่า คืนที่ก้าวไป
รัชนีกรานต์ ( Ratchaneekran ) แปลว่า คืนที่ก้าวไป
เมษากรานต์ ( Mesakran ) แปลว่า ก้าวสู่เดือนเมษายน
เมษากานต์ ( Mesakan ) แปลว่า เดือนเมษาฯอันเป็นที่รัก , ผู้เป็นที่รักแห่งเดือนเมษาฯ
วารีกานต์ ( Wareekan ) แปลว่า น้ำอันเป็นที่รัก
ธารทิพย์ ( Tantip ) แปลว่า น้ำทิพย์
ธาราทิพย์ ( Taratip ) แปลว่า น้ำทิพย์
ชลาทิพย์ ( Chalatip ) แปลว่า น้ำทิพย์
ชื่อผู้ชาย อาทิเช่น
กรานต์ ( Kran ) แปลว่า ก้าวไป
สงกรานต์ ( Songkran ) แปลว่า การเคลื่อนที่ , ดวงอาทิตย์ย้ายเข้าสู่ราศีเมษ
ณัฐกรานต์ ( Nattakran ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้ก้าวไป
ณัฏฐกราต์ ( Nattakran ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้ก้าวไป
พีรกรานต์ ( Peerakran ) แปลว่า ผู้กล้าก้าวไป
วีรกรานต์ ( Weerakran ) แปลว่า ผู้กล้าก้าวไป
ไกรกรานต์ ( Kraikran ) แปลว่า กล้าก้าวไป
ธีรกรานต์ ( Teerakran ) แปลว่า นักปราชญ์ก้าวไป
ธิติกรานต์ ( Titikran ) แปลว่า ก้าวไปสู่ความอิ่มเอิบ
ฐิติกรานต์ ( Titikran , Thitikan ) แปลว่า ก้าวไปสู่ความมีชีวิตอยู่
ดนุกรานต์ ( Danukran ) แปลว่า ตนก้าวไป
กรานต์กุล ( Krankul ) แปลว่า เชื้อสายผู้ก้าวไป
กรานต์พงศ์ ( Kranpong ) แปลว่า เชื้อสายผู้ก้าวไป
กรานต์พงษ์ ( Kranpong ) แปลว่า เชื้อสายผู้ก้าวไป
กรานต์ทิวา ( Krantiwa ) แปลว่า วันที่ก้าวไป
เมษาพงษ์ ( Mesapong ) แปลว่า เชื้อสายเดือนเมษายน
เมษาพงศ์ ( Mesapong ) แปลว่า เชื้อสายเดือนเดือนเมษาฯ
พงศ์นที ( Pongnatee ) แปลว่า เชื้อสายน้ำ
พงษ์นที ( Pongnatee ) แปลว่า เชื้อสายน้ำ
นทีพงศ์ ( Nateepong ) แปลว่า เชื้อสายน้ำ
นทีพงษ์ ( Nateepong ) แปลว่า เชื้อสายน้ำ
อมฤต ( Amarit , Amaruk ) แปลว่า น้ำทิพย์
เป็นวันปีใหม่ ( ปีนักษัตร อ่านว่า นักสัด ) คือจะเปลี่ยนจาก
ปีนักษัตรเดิม เป็นปีนักษัตรใหม่ในวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5
แต่ในปัจจุบันมักจะเปลี่ยนปีนักษัตรไปพร้อมกับวันขึ้นปีใหม่ในโลก
สากล คือวันที่ 1 มกราคม
ชื่อที่เกี่ยวกับวันสงกรานต์ ก็มีทั้งชื่อผู้หญิง และ ชื่อผู้ชาย ดังนี้
ชื่อผู้หญิง อาทิเช่น
จุฑากรานต์ ( Jutakran ) แปลว่า ก้าวไปถึงที่สุด , ก้าวไปถึงยอด
ศศิกรานต์ ( Sasikran ) แปลว่า ก้าวไปดวงจันทร์
รวีกรานต์ ( Raweekran ) แปลว่า ก้าวไปตามดวงตะวัน
ทิวากรานต์ ( Tiwakran ) แปลว่า วันที่ก้าวไป
ทิพย์วารี ( Tipwaree , Thipwaree ) แปลว่า น้ำทิพย์
น้ำทิพย์ ( Namtip , Namthip ) แปลว่า น้ำเป็นของเทวดา
ธิดาวารี ( Tidawaree ) แปลว่า ลูกหญิงน้ำ
สายวารี ( Siewaree ) แปลว่า สายน้ำ
สายน้ำ ( Sienam ) แปลว่า น้ำ
สายธาร ( Sietan ) แปลว่า สายน้ำ , ลำธาร
น้ำ ( Nam , Narm ) แปลว่า ของเหลวใสๆใช้ดื่มได้ และใช้อุปโภคได้
ลดาวารี ( Ladawaree ) แปลว่า เครือเถาน้ำ
รัตติกรานต์ ( Rattikran ) แปลว่า คืนที่ก้าวไป
รัชนีกรานต์ ( Ratchaneekran ) แปลว่า คืนที่ก้าวไป
เมษากรานต์ ( Mesakran ) แปลว่า ก้าวสู่เดือนเมษายน
เมษากานต์ ( Mesakan ) แปลว่า เดือนเมษาฯอันเป็นที่รัก , ผู้เป็นที่รักแห่งเดือนเมษาฯ
วารีกานต์ ( Wareekan ) แปลว่า น้ำอันเป็นที่รัก
ธารทิพย์ ( Tantip ) แปลว่า น้ำทิพย์
ธาราทิพย์ ( Taratip ) แปลว่า น้ำทิพย์
ชลาทิพย์ ( Chalatip ) แปลว่า น้ำทิพย์
ชื่อผู้ชาย อาทิเช่น
กรานต์ ( Kran ) แปลว่า ก้าวไป
สงกรานต์ ( Songkran ) แปลว่า การเคลื่อนที่ , ดวงอาทิตย์ย้ายเข้าสู่ราศีเมษ
ณัฐกรานต์ ( Nattakran ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้ก้าวไป
ณัฏฐกราต์ ( Nattakran ) แปลว่า นักปราชญ์ผู้ก้าวไป
พีรกรานต์ ( Peerakran ) แปลว่า ผู้กล้าก้าวไป
วีรกรานต์ ( Weerakran ) แปลว่า ผู้กล้าก้าวไป
ไกรกรานต์ ( Kraikran ) แปลว่า กล้าก้าวไป
ธีรกรานต์ ( Teerakran ) แปลว่า นักปราชญ์ก้าวไป
ธิติกรานต์ ( Titikran ) แปลว่า ก้าวไปสู่ความอิ่มเอิบ
ฐิติกรานต์ ( Titikran , Thitikan ) แปลว่า ก้าวไปสู่ความมีชีวิตอยู่
ดนุกรานต์ ( Danukran ) แปลว่า ตนก้าวไป
กรานต์กุล ( Krankul ) แปลว่า เชื้อสายผู้ก้าวไป
กรานต์พงศ์ ( Kranpong ) แปลว่า เชื้อสายผู้ก้าวไป
กรานต์พงษ์ ( Kranpong ) แปลว่า เชื้อสายผู้ก้าวไป
กรานต์ทิวา ( Krantiwa ) แปลว่า วันที่ก้าวไป
เมษาพงษ์ ( Mesapong ) แปลว่า เชื้อสายเดือนเมษายน
เมษาพงศ์ ( Mesapong ) แปลว่า เชื้อสายเดือนเดือนเมษาฯ
พงศ์นที ( Pongnatee ) แปลว่า เชื้อสายน้ำ
พงษ์นที ( Pongnatee ) แปลว่า เชื้อสายน้ำ
นทีพงศ์ ( Nateepong ) แปลว่า เชื้อสายน้ำ
นทีพงษ์ ( Nateepong ) แปลว่า เชื้อสายน้ำ
อมฤต ( Amarit , Amaruk ) แปลว่า น้ำทิพย์
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น